Welcome To Blog "Waraporn Sanganan thn2337111 "

วันอังคารที่ 27 มกราคม พ.ศ. 2558

มวลอะตอม : เฉลยแบบฝึกหัด 4.1 ข้อ 7 และ 8



7.1.             ธาตุ Eu  พบในธรรมชาติ  2  ไอโซโทป  คือ  Eu151  มีมวลอะตอมเท่ากับ  150.9196  และ  Eu153
มีมวลอะตอมเท่ากับ  152.9209  ถ้ามวลอะตอมเฉลี่ยของ  Eu  เท่ากับ  151.9600  จงหาประมาณ
ร้อยละของ  Eu  แต่ละไอโซโทป
                สมมุติให้  ปริมาณร้อยละของ  Eu151  ในธรรมชาติ  =  X
                ดังนั้น  ปริมาณร้อยละของ  Eu153  ในธรรมชาติ       =  100 – X

                มวลอะตอมของ  Eu   =  [(X x 150.9196) + (100 - X) x 152.9209] / 100

                                                        =  (150.9196X + 15292.09 - 152.9209) / 100
                                         X      =  48.01397
                ปริมาณร้อยละของ  Eu151  ในธรรมชาติ   =  48.01379
                ปริมาณร้อยละของ  Eu153  ในธรรมชาติ   =  51.98621


8.1.             ธาตุเงินที่พบในธรรมชาติมี  2  ไอโซโทปคือ  Ag107  มีมวลอะตอมเท่ากับ  106.905  และ Ag109  
มีอยู่นธรรมชาติร้อยละ  51.82  ถ้าธาตุเงินมีมวลอะตอมเฉลี่ยเท่ากับ  107.868  จงคำนวณหา
มวลอะตอมของ  Ag109
                ให้มวลอะตอมของ    Ag109       =  X
                ปริมาณร้อยละของ   Ag109        =  51.82
                ดังนั้น ปริมาณร้อยละของ  Ag107   =  100 – 51.82  = 48.18

                มวลอะตอมของ  Ag                      =   [(48.18 x 106.905) + (51.82 x X)] / 100

                                                   107.868     =  (5150.6829 + 51.82) / 100
                                                         X         =  109
                                มวลอะตอมของ Ag109  เท่ากับ  109  ตอบ

วันพฤหัสบดีที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2558

บทที่ 5.7 เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับสมบัติของของแข็ง ของเหลว และแก๊ส

 เริ่มต้นนำก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์มาทำให้เป็นของเหลวก่อน โดยกระบวนการ Liquefaction คือนำก๊าซดังกล่าวมาเพิ่มความดันและลดอุณหภูมิ หลังจากได้คาร์บอนไดออกไซด์เหลวแล้ว จึงนำมาทำให้แห้งและทำให้บริสุทธิ์ด้วยวิธีการที่เหมาะสม จากนั้นจึงนำมาเพิ่มความดันและลดอุณหภูมิอีกครั้ง จนได้ความดันประมาณ 18 atm และอุณหภูมิประมาณ -25 0C จึงอัดคาร์บอนไดออกไซด์เหลวนั้นผ่านรูพรุน จะได้คาร์บอนไดออกไซด์แข็ง หรือน้ำแข็งแห้งที่มีลักษณะคล้ายเกล็ดน้ำแข็งซึ่งสามารถนำไปอัดเป็นก้อนได้
นำแข็งแห้งมีอุณหภูมิต่ำมาก สามารถระเหิดกลายเป็นไอได้โดยตรง จึง... อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 5.6 สมบัติของแก๊ส

สมบัติทั่วไปของแก็ส สมบัติทั่วไปของแก็ส ได้แก่

        1. แก๊สมีรูปร่างเป็นปริมาตรไม่แน่นอน เปลี่ยนแปลงไปตามภาชนะที่บรรจุ บรรจุ ในภาชนะใดก็จะมีรูปร่างเป็นปริมาตรตามภาชนะนั้น เช่น ถ้าบรรจุในภาชนะทรงกลมขนาด 1 ลิตร แก๊สจะมีรูปร่างเป็นทรงกลมมีปริมาตร 1 ลิตร เพราะแก็สมีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาค (โมเลกุล หรืออะตอม) น้อยมาก จึงทำให้อนุภาคของแก๊สสามารถเคลื่อนที่หรือแพร่กระจายเต็มภาชนะที่บรรจุ... อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 5.5 สมบัติของของเหลว

    ก. ปริมาตรและรูปร่าง แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลต่างๆ ของของเหลวมีมากพอที่จะกีดกันไม่ให้โมเลกุลของของเหลวเคลื่อนที่ไปได้มากภายในปริมาตรที่กำหนดให้ แต่แรงดึงดูดนี้ไม่มากพอที่จะยึดเหนี่ยวให้โมเลกุลของของเหลวอยู่ประจำที่ โมเลกุลหนึ่งจึงสามารถเคลื่อนที่ผ่านโมเลกุลอื่นๆ ได้ เป็นเหตุให้เกิดปรากฏการณ์ที่เรียกว่าของเหลวไหลได้ ดังนั้นของเหลวจึงมีปริมาตรที่แน่นอน แต่ไหลได้ และมีรูปร่างขึ้นกับรูปร่างของภาชนะที่บรรจุของเหลวนั้น
        ข. การถูกอัดและการขยายตัว ดังได้กล่าวม... อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 5.4 การเปลี่ยนแปลงพลังงานของระบบ

ระบบคือ สิ่งต่างๆ ที่อยู่ภายในขอบเขตที่ต้องการศึกษา 
สิ่งแวดล้อม คือ สิ่งต่างๆ ที่อยู่นอกขอบเขตที่จะศึกษา สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องกับระบบ
ภาวะของระบบ คือ สมบัติต่างๆ ของระบบกับปัจจัยที่มีผลต่อสมบั  อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 5.3 ชนิดของผลึก



ผลึกของของแข็ง แบ่งเป็น 4 ชนิด คือ

                1. ผลึกไอออนิก (Ionic crystal) อนุภาคของผลึกประเภทนี้จะเป็นไอออนบวกและไอออนลบเรียงตัวสลับกันไปในลักษณะสามมิติ แข็งแต่เปราะ มีจุดหลอมเหลวแลจุดเดือดสูง ขณะเป็นของแข็งไม่นำไฟฟ้าแต่เมื่อหลอมเหลวหรืออยู่ในรูปสารละลายจะสามารถนำไฟฟ้าได้ ตัวอย่างที่พบบ่อยๆ ได้แก่ สารประกอบออกไซด์ของโลหะหมู่ 1 และหมู่ 2 เกลือเฮไลด์ของโลหะ อ่านเพิ่มเติม

บทที่ 5.2 การจัดเรียงอนุภาคของของแข็ง

                 ธาตุต่างๆ บางชนิดในธรรมชาติจะมีการจัดเรียงตัวของอะตอมในรูปของโมเลกุลได้หลายรูปแบบ เราเรียกว่าอัญรูป (allotrope) ของธาตุเช่นกำมะถันมีโครงสร้างผลึกเป็นรอมบิก (rhombic) และมอนอคลินิก(monoclinic)การที่สารสามารถเปลี่ยนโครงสร้างจากแบบหนึ่งไปอีกแบบหนึ่งได้ภายใต้ภาวะอุณหภูมิ และความดันค่าหนึ่ง เราเรียกอุณหภูมินี้ว่า จุดแทรนซิชัน (transition point) อ่านเพิ่มเติม